ประวัติพระโคดมพุทธเจ้า
พระโคตมพุทธเจ้า หรือที่นิยมเรียกว่า พระพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ เป็นผู้สั่งสอนพระธรรมวินัยซึ่งต่อมาเรียกว่าพระพุทธศาสนาในตำราพระพุทธศาสนาเถรวาท ถือว่าการเรียกพระพุทธเจ้าโดยออกนามโคตรนั้นเป็นการไม่เคารพเช่น เรียกว่า พระสมณโคดม เป็นต้น ทำให้ในตำราพระพุทธศาสนาเถรวาทมักเรียกพระพุทธองค์โดยใช้ศัพท์ว่าสตฺถา ที่แปลว่า พระศาสดา แทน ปัจจุบันชาวพุทธนิยมเรียกพระโคตมพุทธเจ้าว่าพระพุทธเจ้า ซึ่งหมายถึง พระโคตมพุทธเจ้า นั่นเอง
เหตุที่ทำให้ต้องเรียกพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันโดยออกชื่อโคตรนั้นเพราะว่าในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาถือว่าพระพุทธเจ้า หรือผู้รู้แจ้งโลกทั้งปวงเองนั้นเคยมีมาแล้วในอดีตนับประมาณไม่ได้ การเรียกโดยระบุนามโคตรของพระองค์จึงเป็นการเจาะจงว่าหมายเฉพาะพระพุทธเจ้าพระองค์นี้(องค์ปัจจุบัน ซึ่งกำเนิดในโคตมโคตร) เท่านั้น
โดยตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาทั้งเถรวาทและมหายานนับถือตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพานตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทยและตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล
พระโคตมพุทธเจ้าเป็นพระราชโอรสผู้ทรงดำรงตำแหน่งแห่งศากยมกุฏราชกุมารของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งศากยวงศ์ โคตมโคตร อันเป็นราชสกุลวงศ์ที่ปกครองกรุงกบิลพัสดุ์มาแต่ช้านานมีพระนามแต่แรกประสูติว่า สิทธัตถะ หรือ สิทธารถ (/สิดทาด/) เมื่อเสด็จออกผนวชและบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้วพระองค์ได้รับการถวายพระนามต่าง ๆ อาทิ พระศากยมุนี พระพุทธโคดม พระโคดมพุทธเจ้า ทั้งนี้ทรงออกพระนามพระองค์เองว่า "ตถาคต" แปลว่า พระผู้ไปดีแล้ว (คือทรงพ้นจากทุกข์ทั้งปวงแล้ว)เหล่านี้ทำให้มีนักท่องเที่ยวแวะเวียนมาอย่างสม่ำเสมอ
พระโคตมพุทธเจ้า หรือที่นิยมเรียกว่า พระพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาของศาสนาพุทธ เป็นผู้สั่งสอนพระธรรมวินัยซึ่งต่อมาเรียกว่าพระพุทธศาสนาในตำราพระพุทธศาสนาเถรวาท ถือว่าการเรียกพระพุทธเจ้าโดยออกนามโคตรนั้นเป็นการไม่เคารพเช่น เรียกว่า พระสมณโคดม เป็นต้น ทำให้ในตำราพระพุทธศาสนาเถรวาทมักเรียกพระพุทธองค์โดยใช้ศัพท์ว่าสตฺถา ที่แปลว่า พระศาสดา แทน ปัจจุบันชาวพุทธนิยมเรียกพระโคตมพุทธเจ้าว่าพระพุทธเจ้า ซึ่งหมายถึง พระโคตมพุทธเจ้า นั่นเอง
เหตุที่ทำให้ต้องเรียกพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันโดยออกชื่อโคตรนั้นเพราะว่าในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาถือว่าพระพุทธเจ้า หรือผู้รู้แจ้งโลกทั้งปวงเองนั้นเคยมีมาแล้วในอดีตนับประมาณไม่ได้ การเรียกโดยระบุนามโคตรของพระองค์จึงเป็นการเจาะจงว่าหมายเฉพาะพระพุทธเจ้าพระองค์นี้(องค์ปัจจุบัน ซึ่งกำเนิดในโคตมโคตร) เท่านั้น
โดยตามคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาทั้งเถรวาทและมหายานนับถือตรงกันว่า พระโคตมพุทธเจ้าทรงดำรงพระชนมชีพอยู่ระหว่าง80 ปีก่อนพุทธศักราช จนถึงเริ่มพุทธศักราชซึ่งเป็นวันปรินิพพานตรงกับ 543 ปี ก่อนคริสตกาลตามตำราไทยซึ่งอ้างอิงปฏิทินสุริยคติไทยและปฏิทินจันทรคติไทยและตรงกับ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล
พระโคตมพุทธเจ้าเป็นพระราชโอรสผู้ทรงดำรงตำแหน่งแห่งศากยมกุฏราชกุมารของพระเจ้าสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายาแห่งศากยวงศ์ โคตมโคตร อันเป็นราชสกุลวงศ์ที่ปกครองกรุงกบิลพัสดุ์มาแต่ช้านานมีพระนามแต่แรกประสูติว่า สิทธัตถะ หรือ สิทธารถ (/สิดทาด/) เมื่อเสด็จออกผนวชและบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าแล้วพระองค์ได้รับการถวายพระนามต่าง ๆ อาทิ พระศากยมุนี พระพุทธโคดม พระโคดมพุทธเจ้า ทั้งนี้ทรงออกพระนามพระองค์เองว่า "ตถาคต" แปลว่า พระผู้ไปดีแล้ว (คือทรงพ้นจากทุกข์ทั้งปวงแล้ว)เหล่านี้ทำให้มีนักท่องเที่ยวแวะเวียนมาอย่างสม่ำเสมอ
วัดไผ่โรงวัว หรือ วัดโพธาราม เป็นวัดที่มีชื่อเสียงของจังหวัดสุพรรณบุรีตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลบางตาเถร อำเภอสองพี่น้อง วัดมีพื้นที่ทั้งหมด 248 ไร่ พื้นที่ของวัดแต่เดิมเป็นดงป่าไผ่ที่ชาวบ้านนำวัวมาผูกไว้ระหว่างทำนาปัจจุบันภายในวัดมีสิ่งก่อสร้างต่างๆเป็นจำนวนมาก เช่น พระพุทธรูปต่างๆ รูปหล่อพุทธประวัติพระโพธิสัตว์ พระวิหารร้อยยอด เจดีย์ร้อยยอด สังเวชนียสถานจำลอง เมืองสวรรค์เมืองนรกจำลองซึ่งสิ่งก่อสร้าง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น